รายงานสรุป

โครงการโรงเรียนรักษาศีล 5

เชิงคุณภาพ ครอบครัวอบอุ่น

พัฒนาเยาวชนด้วยนวัตกรรม

7 กิจวัตรความดี

สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษ 21

ข้อมูลโรงเรียน

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ภาคใต้
ระดับ
1
รอบ
ประจำปีการศึกษา 2566
สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม
62 คน
ครูที่เข้าร่วมกิจกรรม
11 คน
นักเรียนผ่านเกณฑ์ 360 คะแนน
61 คน
นักเรียนทั้งโรงเรียน
110 คน
สังกัดของสถานศึกษา
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ระดับการเปิดสอน
อนุบาล-ประถมศึกษา
ระดับชั้นที่เข้าร่วมโครงการ
ป.3 , ป.4 , ป.5 , ป.6
ขนาดของสถานศึกษา
สถานศึกษาขนาดเล็ก (มีจำนวนนักเรียนน้อยกว่า 301 คน)
จัดกิจกรรมทุกวัน
อื่นๆ
ผู้บริหารสถานศึกษา
นาย|ทวีสิทธิ์|สมัครกิจ
เบอร์โทร
0810776595
ครูผู้ประสานงาน
นางสาว|ปุณณัฏฐา|ดำทอง
เบอร์โทร
0650360199
อีเมล

2. ข้อมูลสมาชิก

# ชื่อ-นามสกุล คะแนน ระดับชั้น สถานะ
1ด.ญ.อุรัษยา กำเนิด576ป.6นักเรียน
2ด.ญ.ปาริฉัตร หะรินทร์592ป.6นักเรียน
3ด.ญ.ธันย์ชนก มากมุข600ป.6นักเรียน
4ด.ญ.กานต์ธิดา มะลิแก้ว592ป.6นักเรียน
5ด.ช.สรวิศ ซ่อนกลิ่น592ป.6นักเรียน
6ด.ช.วรเชษฐ์ จำนงค์584ป.6นักเรียน
7ด.ช.ปริญญา เจือกโว้น576ป.6นักเรียน
8ด.ช.เกียรติคุณ จันทร์ทอง592ป.6นักเรียน
9ด.ช.ศศิพงค์ สีดาว584ป.6หัวหน้ากลุ่ม
10ด.ช.กิตติพศ หนูนวล600ป.6นักเรียน
11ด.ช.ทวิกร อรัญวารี560ป.6นักเรียน
12ด.ช.สุริยน คงทอง592ป.6หัวหน้ากลุ่ม
13ด.ช.อภิสิทธิ์ หนูสม592ป.6นักเรียน
14ด.ช.รัฐภูมิ เต่าเพ็ชร0ป.5นักเรียน
15ด.ญ.คันธารัตน์ ขูทก600ป.5นักเรียน
16ด.ญ.อนันตชา ซุ่นสั้น592ป.5นักเรียน
17ด.ญ.ธวัลรัตน์ จันทปัญญา592ป.5นักเรียน
18ด.ญ.กานต์ธิดา หลงละเลิง584ป.5นักเรียน
19ด.ญ.ปานระพี มาตย์ผล592ป.5นักเรียน
20ด.ญ.พัชราภา เต่าเพ็ชร600ป.5นักเรียน
21ด.ญ.ภัทรธิดา หวังบริสุทธิ์592ป.5หัวหน้ากลุ่ม
22ด.ญ.ธนวรรณ มากแก้ว592ป.5นักเรียน
23ด.ญ.ณัฐมน กล่อมพงษ์600ป.5นักเรียน
24ด.ญ.ภัททิยา แก้วโยชน์500ป.5นักเรียน
25ด.ช.จิรสิน ภาสกรกุล484ป.5นักเรียน
26ด.ช.คมธรรม แสงอินทร์492ป.5นักเรียน
27ด.ช.ภควุฒิ ราชสังข์592ป.5หัวหน้ากลุ่ม
28ด.ช.พงศ์นรินทร์ เซ่งง่าย600ป.5หัวหน้ากลุ่ม
29ด.ช.วีรสิทธิ์ เกษโกวิท484ป.5นักเรียน
30ด.ช.จักรกฤษณ์ แก้วกูล492ป.5นักเรียน
31ด.ช.จักรกฤช เศษสิน500ป.5นักเรียน
32ด.ช.พงษ์ธนวิทย์ สุขสวัสดิ์484ป.5นักเรียน
33ด.ช.สุรเดช คงปลอด492ป.5นักเรียน
34ด.ญ.รุสมี สายสอิด552ป.4นักเรียน
35ด.ญ.คนึงนิตย์ เซ่งง่าย600ป.4หัวหน้ากลุ่ม
36ด.ญ.สิระนาท ทองชุม600ป.4นักเรียน
37ด.ญ.จุฑารัตน์ กิ้มเฉี้ยง576ป.4นักเรียน
38ด.ญ.ภัทรวดี หวังบริสุทธิ์600ป.4นักเรียน
39ด.ญ.ญาดา รัตตมณี592ป.4นักเรียน
40ด.ญ.กัญญาพัชร แก้วกลาง600ป.4นักเรียน
41ด.ช.พจนกร คำโนนจาน560ป.4นักเรียน
42ด.ช.ศุภณัฐ เมฆประสิทธิ์568ป.4นักเรียน
43ด.ช.ปรเมศร์ เหมนแก้ว584ป.4นักเรียน
44ด.ช.ธนากร จำนงค์584ป.4นักเรียน
45ด.ช.รัชชานนท์ กันแก้ว584ป.4นักเรียน
46ด.ช.ณภัทร มากแก้ว592ป.4หัวหน้ากลุ่ม
47ด.ช.สุทธิภัทร หนูเหมือน592ป.4นักเรียน
48ด.ช.ธนกฤต เยาว์ดำ560ป.4นักเรียน
49ด.ญ.กัลยรัตน์ ยุ่นก่าม584ป.3นักเรียน
50ด.ญ.เปมิกา สุขเกื้อ584ป.3นักเรียน
51ด.ญ.นัฐชา สมาธิ592ป.3นักเรียน
52ด.ญ.มธุรดา แสงวันลอย592ป.3หัวหน้ากลุ่ม
53ด.ญ.อัสมา พรมทอง584ป.3นักเรียน
54ด.ญ.อัจฉรา ลังทิพย์592ป.3นักเรียน
55ด.ช.ณัฐภัทร จันด้วง584ป.3นักเรียน
56ด.ช.กิตติวินท์ ขุนทอง584ป.3หัวหน้ากลุ่ม
57ด.ช.ธีร์ปภพ ท่าจีน568ป.3นักเรียน
58ด.ช.ธนพัฒน์ คงขาว600ป.3นักเรียน
59ด.ช.อาณัติ ซุ้นสั้น600ป.3นักเรียน
60ด.ช.อภิวิชญ์ ปั้นทอง592ป.3นักเรียน
61ด.ช.พีระพัฒน์ จงกาญจนาสุนทร576ป.3นักเรียน
62ด.ช.กิตติพงษ์ ซุ่นสั้น560ป.3นักเรียน

3.2 ส่งภาพกิจกรรมของโรงเรียน (ภาพกิจกรรมชั่วโมงสุขจริงหนอ )

ภาพอาราธนาศีล, สวดมนต์, นั่งสมาธิ

ภาพบรรยายธรรมะประกอบสื่อโดยวิทยากรหรือพระอาจารย์

ภาพแชร์ประสบการณ์ทำความดี (ออกมาเล่าเรื่องหน้าชั้นเรียน)

ภาพการถ่ายรูปร่วมกัน พร้อมถือสมุดบันทึกความดี

ภาพสมุดบันทึกความดีที่ครูตรวจและเนื้อหาน่าประทับใจ

เรื่องเด่นที่ครูประทับในชั่วโมงสุขจริงหนอ

การนำ 7 กิจวัตรความดีไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดยเริ่มต้นจากตัวเราเองนั้น ถือเป็นประสบการณ์ที่ดีที่สุดของเราในการใช้ชีวิตจริงในสังคมปัจจุบันได้อย่างดี มีคุณภาพ และเป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการทำความดีที่ยิ่งใหญ่และไม่มีที่สิ้นสุด ต้องขอขอบพระคุณทางโครงการเป็นอย่างสูงที่ให้ความอนุเคราะห์โครงการที่ดีและมีประโยชน์อย่างรอบด้านแ่ก่โรงเรียนเล็ก ๆ อย่างนี้ ทางโรงเรียนจะพัฒนาและสานต่อบุวทูตความดีต่อไปตราบนานเท่านาน

หัวข้อ สื่อการเรียนรู้ที่ครูใช้ในชั่วโมงสุขจริงหนอ พร้อมเล่าเรื่องกิจกรรมที่แชร์ประสบการณ์
โดยใช้เทคนิคคำถามกระตุ้นความคิด R - C – A

สื่อที่ครูใช้ในสัปดาห์ 1-7 : P7T104 - การ์ตูนสอน ศีล๕ ฉบับแร๊งส์(5 นาที)_สื่อประกอบการเรียนรู้

R: REFLECT
(สะท้อน)
คำถาม: ในสื่อวิดีโอนี้ ศีล 5 ตามความเข้าใจของนักเรียนคืออะไร
คำตอบ: ศีล 5 คือ การประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นปกติทั้งทางกาย วาจา และใจ ได้แก่ 1. ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตหรือรังแก เบียดเบียนสัตว์ 2. ไม่ลักทรัพย์ 3. ไม่ประพฤติผิดในกาม 4. ไม่พูดโกหก 5. ไม่ดื่มสุราหรือของมึนเมา
C: Connect
(เชื่อมโยง)
คำถาม: นักเรียนสามารถรักษาศีล 5 ได้ครบทุกข้อหรือไม่ เพราะเหตุใด
คำตอบ: ไม่ครบสมบูรณ์ทุกข้อ เพราะในบางสถานการณ์เราไม่สามารถควบคุมการกระทำทั้งทางกาย วาจา และใจของตนเองได้โดยบริบูรณ์ เช่น 1. เรายังตบยุง ฆ่ามด หรือกำจัดแมลงตัวเล็กตัวน้อย 2. เรายังหยิบสิ่งของของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 3. เรายังแอบชอบแอบปลื้มแฟนของคนอื่น 4. เรายังต้องไปซื้อเครื่องดองของมึนเมาให้ผู้ใหญ่ ก็เลยแอบชิมบ้างเป็นธรรมดาของความอยากรู้อยากเห็น อยากทดลองตามประสาเด็ก ๆ
A: Apply
(ปรับใช้)
คำถาม: นักเรียนสามารถสร้างหรือปรับปรุงการรักษาศีล 5 ของตนเองได้อย่างไร
คำตอบ: เราต้องเริ่มต้นจากตัวเราเองด้วยประพฤติปฏิบัติตนอย่างจริงจัง จากเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เมื่อมีความสม่ำเสมอและต่อเนื่องก็สามารถพัฒนาไปแบบขยายวงกว้างจนครบ สมบูรณ์ทุกข้อ

สื่อที่ครูใช้ในสัปดาห์ 8-14 : P7T503 - เราต่างก็อยู่ในวงจรการบูลลี่โดยไม่รู้ตัว

R: REFLECT
(สะท้อน)
คำถาม: ในสื่อวิดีโอนี้ การบูลลี่ตามความเข้าใจของนักเรียนคืออะไร
คำตอบ: การบูลลี่ คือ การประพฤติปฏิบัติตนทั้งทางกาย วาจา และใจของตัวเราเองที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อผู้อื่น ทั้งเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตาม ดังคำกล่าวที่ว่า "คนทำไม่เคยจำ แต่คนถูกกระทำไม่เคยลืม"
C: Connect
(เชื่อมโยง)
คำถาม: นักเรียนเคยบูลลี่คนอื่นหรือไม่ อย่างไร
คำตอบ: เคยสิ ทั้งทางกาย วาจา และใจเลยแหละ ส่วนมากก์ไม่ได้เจตนาหรอก เพราะคิดว่าเป็นแค่การหยอกล้อกันเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่สำคัญชอบพูดติคนอื่นในส่วนของปมด้อยหรือสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้นั้นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในเวลาอันรวดเร็ว หนักสุดก็คงต้องรอไปเกิดภพภูมิใหม่ก็เท่านั้น
A: Apply
(ปรับใช้)
คำถาม: นักเรียนสามารถกำจัดการบูลลี่คนอื่น โดยเริ่มต้นที่ตัวเราเองได้หรือไม่ อย่างไร
คำตอบ: ได้สิ แคเรารู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราและรู้จักประพฤติปฏิบัติตนโดยชอบทั้งทางกาย วาจา และใจให้สมบูรณ์ ให้ถึงพร้อมไปด้วยศีล สมาธิ และปัญญา ปัญหาก็คงจะไม่เกิด หรือถ้าหากจะเกิด เราก็สามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้อง ตรงจุด ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือความเดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมก็คงจะค่อย ๆ ลดลง และมลายหายไปในที่สุด เราก็จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขตราบนิจนิรันดร์