รายงานสรุป

โครงการโรงเรียนรักษาศีล 5

เชิงคุณภาพ ครอบครัวอบอุ่น

พัฒนาเยาวชนด้วยนวัตกรรม

7 กิจวัตรความดี

สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษ 21

ข้อมูลโรงเรียน

ตำบลโกรกพระ อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ ภาคเหนือ
ระดับ
1
รอบ
ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564
สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม
30 คน
ครูที่เข้าร่วมกิจกรรม
3 คน
นักเรียนผ่านเกณฑ์ 360 คะแนน
30 คน
นักเรียนทั้งโรงเรียน
386 คน
สังกัดของสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับการเปิดสอน
อนุบาล-มัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับชั้นที่เข้าร่วมโครงการ
ป.3 , ป.4 , ป.5 , ป.6 , ม.1 , ม.2 , ม.3
ขนาดของสถานศึกษา
สถานศึกษาขนาดกลาง (มีจำนวนนักเรียนตั้งแต่ 301 – 1,000 คน)
จัดกิจกรรมทุกวัน
วันศุกร์
ผู้บริหารสถานศึกษา
นายสมนึก ชูชีพ
ครูผู้ประสานงาน
สิริกร คนซื่อ
อีเมล

2. ข้อมูลสมาชิก

# ชื่อ-นามสกุล คะแนน ระดับชั้น สถานะ
1ด.ญ.ชนัญชิดา โสภาพล 437ม.3นักเรียน
2ด.ญ.วรวรรณ อินทร์จิตร 441ม.3นักเรียน
3ด.ญ.ศุภิสรา เหล่าอินทร์ 464ม.3นักเรียน
4ด.ญ.กัญญาภัค ยอดบ่อพลับ 458ม.3นักเรียน
5ด.ช.เอกธวัช นิ่มฟัก 494ม.3ผู้นำ
6ด.ญ.อริสรา เวชกรณ์ 487ม.2นักเรียน
7ด.ญ.อิทธิมนต์ พันละออง 467ม.2นักเรียน
8ด.ญ.อัมภิกา เกศกุล 461ม.2นักเรียน
9ด.ช.อำพน พุ่มศิริ 446ม.2นักเรียน
10ด.ญ.ศิริพร เข็มทอง 436ม.2นักเรียน
11ด.ญ.วรรณนิสา มาประเสริฐ 579ม.1นักเรียน
12ด.ช.ณฐกร มีมา 515ม.1นักเรียน
13ด.ญ.ปัทมา มาประเสริฐ 467ม.2ผู้นำ
14ด.ญ.วศินี บัวสำลี 469ป.6นักเรียน
15ด.ญ.ชมม์นิภา ปะภูสะโร 503ป.5นักเรียน
16ด.ญ.ภัทรธิดา กีฬา 483ป.6นักเรียน
17ด.ญ.ปิ่นแก้ว ใจละม่อม 464ป.6ผู้นำ
18ด.ช.ตรีทเศศ มีมา 467ป.5นักเรียน
19ด.ญ.นภัสรา ทองพันนา 461ป.4นักเรียน
20ด.ญ.ณัทธมนต์ หนูพุ่ม 525ป.4นักเรียน
21ด.ญ.ชลลดา คำกลอง 502ป.4นักเรียน
22ด.ญ.จิรารัตน์ นัยพรม 509ป.4นักเรียน
23ด.ญ.กัญญาณัฐ ยอดบ่อพลับ 500ป.4ผู้นำ
24ด.ช.ปาราเมศ มีมา 458ป.3นักเรียน
25ด.ญ.พิมพ์วิมล สุขสมจิตร 583ป.3นักเรียน
26ด.ญ.วันวิสา กลิ่นหอม 487ป.3นักเรียน
27ด.ญ.สุธิดา สุระดม 495ป.3นักเรียน
28ด.ญ.ปัณณพร แก้วดี 472ป.4นักเรียน
29ด.ญ.กชกร อินทร์คีรี 534ป.3ผู้นำ
30ด.ญ.รัตนาภรณ์ ศีละพงษ์ 504ป.3นักเรียน

3.1 ส่งภาพกิจกรรมที่นักเรียนทำที่บ้าน

ด.ญ.รัตนาภรณ์ ศีละพงษ์ ป.3

ห้องนอน

ห้องน้ำ

ตู้เสื้อผ้า/ชั้นวางของ

เรื่องราว

ห้องนอนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ส่วนห้องน้ำ สะอาด หอม น่าเข้าใช้ และเมื่อจัดของใช้เป็นระเบียบ สามารถหยิบใช้ง่ายขึ้น บ้านน่าอยู่กว่าแต่ก่อนค่ะ รู้สึกสุขใจที่ได้ทำ 7 กิจวัตรความดี

ด.ช.เอกธวัช นิ่มฟัก ม.3

ห้องนอน

ห้องน้ำ

ตู้เสื้อผ้า/ชั้นวางของ

เรื่องราว

หากเราทำกิจวัตรต่างๆมันจะติดเป็นนิสัยเราไปจนเราโต ถ้าเรามีระเบียบวินัย คนรอบตัวเราก็ชม เปนการขจัดความขี้เกียจในตัวเราด้วย เวลาจัดเก็บที่นอน หรือ ตู้เสื้อผ้า ดูสะอาดตาและเป็นระเบียบเรียบร้อยครับ

3.2 ส่งภาพกิจกรรมของโรงเรียน (ภาพกิจกรรมชั่วโมงสุขจริงหนอ )

ภาพอาราธนาศีล, สวดมนต์, นั่งสมาธิ

ภาพบรรยายธรรมะประกอบสื่อโดยวิทยากรหรือพระอาจารย์

ภาพแชร์ประสบการณ์ทำความดี (ออกมาเล่าเรื่องหน้าชั้นเรียน)

ภาพการถ่ายรูปร่วมกัน พร้อมถือสมุดบันทึกความดี

ภาพสมุดบันทึกความดีที่ครูตรวจและเนื้อหาน่าประทับใจ

เรื่องเด่นที่ครูประทับในชั่วโมงสุขจริงหนอ

สื่อแต่ละสื่อใช้เวลาสั้นๆ ไม่นาน มีประโยชน์ และนักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รูปภาพประกอบน่ารักและภาษาที่พูดหรือสื่อออกมา เหมาะสมกับวัยของนักเรียน เด็กๆชอบค่ะ

หัวข้อ สื่อการเรียนรู้ที่ครูใช้ในชั่วโมงสุขจริงหนอ พร้อมเล่าเรื่องกิจกรรมที่แชร์ประสบการณ์
โดยใช้เทคนิคคำถามกระตุ้นความคิด R - C – A

สื่อที่ครูใช้ในสัปดาห์ 1-7 : P7T101 - กิจวัตรความดีข้อที่ 1 รักษาศีล5

R: REFLECT
(สะท้อน)
คำถาม: หลังจากชมสื่อนี้แล้ว นักเรียน บอกศีล 5 ทั้งหมดมีอะไรบ้าง
คำตอบ: 1.ไม่ฆ่าสัตว์ 2.ไม่ลักทรัพย์3.ไม่ประพฤติผิดในกาม 4. ไม่พูดปด 5. ไม่ดื่มชองมึนเมา
C: Connect
(เชื่อมโยง)
คำถาม: นักเรียนคิดว่าถ้า ในสังคมไทย ไม่รักษาศีล 5 จะเป็นอย่างไร
คำตอบ: สังคม จะมีความวุ่นวาย ไม่มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไม่สงบสุข เพราะ ไม่รักษาศีล 5
A: Apply
(ปรับใช้)
คำถาม: จงบอกประโยชน์ของศีล5 เพื่อให้คนในสังคมปฏิบัติ
คำตอบ: สิ่งเรา ทำให้ใจเราสุข ไม่เบียดเบียนสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา สุขภาพดี อายุยืน

สื่อที่ครูใช้ในสัปดาห์ 8-14 : P7T507 - ทานน้องไข่เจียว เด็กดีรู้จักขอบคุณและขอโทษ / นิทานสอนใจ indysong kids (2:23 นาที)

R: REFLECT
(สะท้อน)
คำถาม: นักเรียนรู้สึกอย่างไร เมื่อรู้ตัวเองว่ากระทำผิด
คำตอบ: จะกลัว ไม่กล้าบอกความจริง มีความอึดอัดใจ
C: Connect
(เชื่อมโยง)
คำถาม: เมื่อนักเรียนเกิดความอึดอัดในใจ เราจะมีวิธีการจัดกับใจเราอย่างไร
คำตอบ: นั่งทบทวนเหตุผล หามุมสงบ และกล้าที่จะพูดคำว่าขอโทษ และจะไม่ทำเช่นนั้นอีก
A: Apply
(ปรับใช้)
คำถาม: การใช้คำพูดขอโทษ และ ขอบคุณ มีประโยชน์อย่างไรกับการอยู่ร่วมกันในสังคม
คำตอบ: เป็นสิงที่พวกเราควรพูด แสดงให้เห็นความอ่อนน้อม เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้ฟังสุขใจ

4.1 ผลลัพธ์ระดับบุคคล (เรื่องความเปลี่ยนแปลง)

ด.ญ.พิมพ์วิมล สุขสมจิตร ป.3 (นักเรียน)

ด.ญ.วรรณนิสา มาประเสริฐ ม.1 (นักเรียน)

ด.ญ.กัญญาณัฐ ยอดบ่อพลับ ป.4 (ผู้นำ)