# | ชื่อ-นามสกุล | คะแนน | ระดับชั้น | สถานะ |
---|---|---|---|---|
1 | นายอภิรักษ์ พรมเบา | 379 | ม.5 | ผู้นำ |
2 | นายภูผา พันธ์รอด | 367 | ม.5 | นักเรียน |
3 | นายนัฐนันท์ พันธ์รอด | 364 | ม.5 | นักเรียน |
4 | นายจิรวัฒน์ เพ็งพัด | 361 | ม.5 | นักเรียน |
5 | นางสาวพัชรี จันทร์ทา | 360 | ม.5 | นักเรียน |
6 | นางสาวผาติรัตน์ พรมเบา | 385 | ม.5 | นักเรียน |
7 | นางสาวปาริตา เอมสิงห์ | 367 | ม.5 | นักเรียน |
8 | นางสาวนพรัตน์ สายนารา | 396 | ม.5 | นักเรียน |
9 | นางสาวจุฑาทิพย์ สายแวว | 523 | ม.5 | ผู้นำ |
10 | นางสาวกัญญาพัขร อ่อนฉ่ำ | 497 | ม.5 | นักเรียน |
11 | นายนัทธพงศ์ เอี่ยมโอด | 365 | ม.5 | นักเรียน |
12 | นายณัฐพล พานิชชัย | 370 | ม.5 | ผู้นำ |
13 | นายการันต์ การะเกตุ | 372 | ม.5 | นักเรียน |
14 | นางสาวสุณิษา มาขำ | 366 | ม.5 | นักเรียน |
15 | นางสาวสุกัญญา มาขำ | 363 | ม.5 | นักเรียน |
16 | นางสาวศศิวิมล แตงฉ่ำ | 391 | ม.5 | นักเรียน |
17 | นางสาวพัชรา จันทร์สุข | 526 | ม.5 | นักเรียน |
18 | นางสาวธนัชญา จบศรี | 481 | ม.5 | นักเรียน |
19 | นางสาวชุลีพร เรืองธรรม | 364 | ม.5 | นักเรียน |
20 | นางสาวชฎาภา นุชสุ่ม | 502 | ม.5 | นักเรียน |
21 | นางสาวกนกวรรณ หาญวังม่วง | 480 | ม.5 | ผู้นำ |
22 | นางสาวอรทัย โตนวน | 365 | ม.5 | นักเรียน |
23 | นางสาวปนัดดา ศรีโสด | 364 | ม.5 | นักเรียน |
24 | นางสาวเบญจณี สารภาค | 500 | ม.5 | นักเรียน |
25 | นางสาวเนตรนภา เจตเกษตรการ | 361 | ม.5 | นักเรียน |
26 | นางสาวดารุณี พุกทอง | 362 | ม.5 | นักเรียน |
27 | นางสาวกนกวรรณ แหยมทองดี | 371 | ม.5 | ผู้นำ |
28 | นางสาวชมพูนุช แสงอ่อน | 400 | ม.6 | นักเรียน |
29 | นายกิตติพศ เคนทอง | 369 | ม.6 | นักเรียน |
30 | นางสาวสุภัคตรา ฉลูทอง | 365 | ม.6 | นักเรียน |
31 | นางสาวศิริรัตน์ หวานจริง | 368 | ม.6 | นักเรียน |
32 | นางสาวภานุวรรณ ชะรินรัมย์ | 380 | ม.6 | ผู้นำ |
33 | นางสาวณัฐกานต์ ถานผดุง | 384 | ม.6 | นักเรียน |
34 | นางสาวทรรศวรรณ ปิ่นทอง | 385 | ม.6 | นักเรียน |
35 | นายเฉลิมพล นวนแดง | 362 | ม.6 | นักเรียน |
36 | นายสิทธิกร เกิดไธสง | 361 | ม.6 | นักเรียน |
37 | นายนราธร เนียมทอง | 368 | ม.6 | ผู้นำ |
38 | นายจิรายุส เอี่ยมสะอาด | 400 | ม.6 | นักเรียน |
39 | นางสาวสุภาพร สุขสงวน | 450 | ม.6 | นักเรียน |
40 | นางสาวสุนทรีย์ พันพุก | 393 | ม.6 | ผู้นำ |
41 | นายพานทอง บุตรเนียม | 369 | ม.6 | นักเรียน |
42 | นายบุรธัช หนูทอง | 365 | ม.6 | นักเรียน |
43 | นายรัชพล แคฝอย | 362 | ม.6 | นักเรียน |
44 | นายพิพัฒน์ แก้วพรมตา | 362 | ม.6 | นักเรียน |
45 | นายธนกร เลี้ยงสวัสดิ์ | 370 | ม.6 | ผู้นำ |
46 | นายอภิรักษ์ ทองทักษิณ | 455 | ม.6 | ผู้นำ |
47 | นายเรืองศักดิ์ แสงทองย้อย | 456 | ม.6 | นักเรียน |
48 | นางสาวอคิราห์ อินทร์เล็ก | 460 | ม.6 | นักเรียน |
49 | นายอนุพันธ์ บัวกอง | 368 | ม.6 | นักเรียน |
50 | นางสาวสุพบุตร ทองลอย | 400 | ม.6 | ผู้นำ |
51 | นางสาวพัชราภรณ์ จันทร์ศรี | 389 | ม.6 | นักเรียน |
52 | นางสาวบัณฑิตา ภู่จุ้ย | 412 | ม.6 | นักเรียน |
53 | นางสาวบัณฑิตา ดิษเจริญ | 484 | ม.6 | นักเรียน |
54 | นางสาวจินตภา เหียดไธสง | 390 | ม.6 | นักเรียน |
55 | นายอธิบดี คำขจร | 393 | ม.6 | นักเรียน |
56 | นายศรชัย ฉุนหอม | 379 | ม.6 | นักเรียน |
57 | นายทัศน์พล อินทร์ฉาย | 453 | ม.6 | ผู้นำ |
58 | นายณัฐพงษ์ จันมาก | 421 | ม.6 | นักเรียน |
59 | นางสาวสุชาดา ฉุนหอม | 411 | ม.6 | นักเรียน |
60 | นางสาวทรัพย์ทวี ใจสิงห์ | 436 | ม.6 | นักเรียน |
61 | นางสาวสิริกร ศรีแสงทรัพย์ | 376 | ม.6 | นักเรียน |
62 | นางสาวศิริลักษณ์ กะมุธากร | 380 | ม.6 | นักเรียน |
63 | นางสาวรุ่งทิพย์ โห้คลัง | 384 | ม.6 | นักเรียน |
64 | นางสาวจีราวรรณ์ เจริญรัตน์ | 374 | ม.6 | นักเรียน |
65 | นางสาวเวฬุรีย์ สนชัย | 381 | ม.6 | นักเรียน |
66 | นางสาววรรณวษา คำหวาน | 447 | ม.6 | ผู้นำ |
67 | นางสาวปิยฉัตร จบศรี | 467 | ม.6 | นักเรียน |
68 | นางสาวจันทร์ดารัตน์ แสงบึง | 405 | ม.6 | นักเรียน |
R: REFLECT (สะท้อน) |
คำถาม: การรักษาศีล5ตามความเข้าใจของเราหมายถึงอะไร |
---|---|
คำตอบ: การปฏิบัติตนเองให้อยู่ในกรอบในระเบียบของศีล5 ซึ่งเป็นแนวทางที่ดีในการเป็นพลเมืองดีตามแนวทางวิถีพุทธ | |
C: Connect (เชื่อมโยง) |
คำถาม: ศีล5ในข้อใดที่นักเรียนสามารถทำได้และข้อใดที่นักเรียนควรปรับปรุง |
คำตอบ: ศีล5ที่สามารถทำได้คือ ทุกข้อขึ้นอยู่กับจิตใจของเราเอง เพราะแต่ละข้อก็เป็นเหมือนกฎหมายย่อยๆที่เราต้องปฏิบัติให้ได้ เช่นถ้าเราไปลักขโมยของผู้อื่นอาจโดยแจ้งความดำเนินคดีได้ ในส่วนที่ข้าพเจ้าของปรับปรุงน่าจะเป็นข้อที่3 เพราะบางครั้งอาจเผลอพูดคำสอดเสียดกับเพื่อนฝูงบ้าง | |
A: Apply (ปรับใช้) |
คำถาม: นักเรียนสามารถนำกิจวัตรความดีมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้เช่น |
คำตอบ: สามารถนำมาปรับใช้ได้ เพราะเป็นเหมือนความสุขพื้นฐานให้กับครอบครัวและตนเอง เมื่อรักษาศีล5จนเป็นนิสัย ก็เหมือนเป็นเกราะคุ้มภัย |
R: REFLECT (สะท้อน) |
คำถาม: การจับดีคนรอบข้างตามความเข้าใจของเราหมายถึงอะไร |
---|---|
คำตอบ: เป็นการมองเห็นสิ่งดีๆของบุคคลใกล้ตัวเราที่เขาได้เป็นแบบอย่างที่ดี แต่ในส่วนที่ไม่ดีก็ควรมองข้ามและนำมาปรับปรุงตัวเราเองก่อน | |
C: Connect (เชื่อมโยง) |
คำถาม: การจับดีคนรอบข้างมีประโยชน์หรือส่งผลดีกับตนเองอะไรบ้าง |
คำตอบ: มีประโยชน์เป็นอย่างมากในชั้นเรียนโดย ให้เรามองเห็นความดีหรือสิ่งที่เราควรเอาอย่างเพื่อนที่เขาเรียนหนังสือเก่ง เราได้กล้าที่จะถามเขาว่า ต้องปฏิบัติตนเองอย่างไรถึงจะเรียนหนังสือเก่งแบบเพื่อน และสามารถเอาแนวทางจากเพื่อนมาปรับใช้และเรียนหนังสือหรือทำการบ้านได้ดียิ่งขึ้น | |
A: Apply (ปรับใช้) |
คำถาม: นักเรียนจะสามารถนำความรู้ที่ได้จากการรับชมสื่อชุดนี้มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนเองในอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขได้อย่างไรบ้าง |
คำตอบ: ได้นำมาปฏิบัติตนในสังคมเช่นปัจจุบันการจับดีคนรอบข้างนี้ก็เหมือนการยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลในโลกที่มีความหลากหลาย ถ้าเราสามารถจับเรื่องที่ดีของเขาได้เช่นการทำงาน การปฏิบัติตนในสังคมเข้าใจผู้อื่นเราก็จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข |